ผลการประเมิน

แบบประเมินโรคข้อเสื่อม

10

คะแนน

1-11 คะแนน

มีความเสี่ยงน้อย

แนะนำให้ออกกำลังกาย ควบคุมน้ำหนัก ยืน นั่ง และนอนให้ถูกท่า ดังนี้

  1. ท่านั่ง ควรหลีกเลี่ยงท่านั่งที่มีการงอเข่ามากกว่า 90 องศา และม่ควรนั่งในท่าเดิมนานๆ
  2. ท่ายืน ควรสลับเท้ารับน้ำหนัก และไม่ควรยืนในท่าเดิมนานๆ
  3. ท่าเดิน ควรเดินบนพื้นราบที่ไม่ลาดชัน ควรใส่รองเท้าหุ้มส้น ไม่ควรใส่รองเท้าส้นสูงเป็นเวลานานๆ
  4. ขณะขึ้นลงบันไดจะเกิดแรงกดทับบนหัวเข่ามาก ควรใช้ขาที่มีอาการปวดน้อยกว่าก้าวขึ้นก่อน และเวลาลงบันไดให้ใช้ขาที่ปวดมากกว่าลงก่อน

31 คะแนน

มีภาวะความเสี่ยงหลายประการ

  1. หากมีอาการข้อยึด ติดขัด บวม มีเสียงกรอบแกรบ ปวดลึกๆ บริเวณข้อ ควรปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกร เพื่อเริ่มรับประทานยา แนะนำให้ออกกำลังกาย ควบคุมน้ำหนัก
  2. ยืน นั่ง นอน ให้ถูกท่าดังนี้
    2.1 ท่านั่ง ควรหลีกเลี่ยงท่านั่งที่มีการงอเข่ามากกว่า 90 องศา และม่ควรนั่งในท่าเดิมนานๆ
    2.2 ท่ายืน ควรสลับเท้ารับน้ำหนัก และไม่ควรยืนในท่าเดิมนานๆ
    2.3 ท่าเดิน ควรเดินบนพื้นราบที่ไม่ลาดชัน ควรใส่รองเท้าหุ้มส้น ไม่ควรใส่รองเท้าส่นสูงเป็นเวลานานๆ
  3. ขณะขึ้นลงบันไดจะเกิดแรงกดทับบนหัวเข่ามาก ควรใช้ขาที่มีอาการปวดน้อยกว่าก้าวขึ้นก่อน และเวลาลงบันไดให้ใช้ขาที่ปวดมากกว่าลงก่อน
คำแนะนำการปฏิบัติตัวเพื่อชะลออาการข้อเข่าเสื่อม
  1. ควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ ค่าดัชนีมวลกายไม่เกิน 25 เพราะน้ำหนักตัวที่มากจะทำให้ข้อเข่าและข้อสะโพกรับน้ำหนักมากขึ้น และเสื่อมสภาพเร็วขึ้น
    โดยวิธีคำนวณ BMI ในการหาค่าดัชนีมวลกาย = น้ำหนักตัว [กิโลกรัม] ÷ ส่วนสูง [เมตร] ยกกำลังสอง
  2. ปรับเปลี่ยนอิริยาบถอยู่เสมอ ไม่อยู่ในท่าเดิมเป็นเวลานานเกินไป เช่น หากจำเป็นต้องนั่งพับเพียบก็เปลี่ยนข้างบ่อยๆ ไม่ยืน คุกเข่า หรือนั่งยองเป็นเวลานาน
  3. บริหารข้อกระดูกเป็นประจำ ออกกำลังกายเพื่อบริหารข้อด้วยท่าที่ถูกต้องอย่างสม่ำเสมอ สร้างกล้ามเนื้อต้นขาหรือเส้นเอ็นรอบเข่าให้แข็งแรงโดยการออกกำลังกายกำลังกายฝึกกล้ามเนื้อ (Strength Training) ซึ่งรวมถึงการออกกำลังกายแบบแอโรบิกและกิจกรรมเสริมสร้างความยืดหยุ่นของร่างกาย ได้แก่ บอดี้เวท (Body Weight)
  4. หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ทำให้เกิดการบาดเจ็บ เช่น การกระโดด การเล่นกีฬาโดยไม่ระมัดระวัง และการยกของหนัก
  5. หากเริ่มมีอาการบาดเจ็บให้รีบพบแพทย์ทันที เนื่องจากอาการบาดเจ็บบริเวณข้อกระดูกควรรีบรักษาให้หาย ไม่ควรปล่อยไว้จนเป็นอาการบาดเจ็บเรื้อรัง

สารอาหารที่แนะนำให้รับประทาน

สารอาหารที่แนะนำให้รับประทานเพื่อช่วยบรรเทาอาการปวดจากข้ออักเสบ

  1. สารสกัดจากขมิ้นชัน (Curcumin)  ประโยชน์ ช่วยบรรเทาและลดอาการอักเสบข้อเสื่อม แก้ปวด แทนการใช้ NSAIDs ขนาดรับประทานที่แนะนำ วันละ 100 – 200 มิลลิกรัม

สารอาหารที่แนะนำให้รับประทาน เพื่อช่วยป้องกันอาการข้อเสื่อม ข้ออักเสบ

  1. สารสกัดจากขมิ้นชัน (Curcumin)  ประโยชน์ ช่วยบรรเทาและลดอาการอักเสบข้อเสื่อม แก้ปวด แทนการใช้ NSAIDs ขนาดรับประทานที่แนะนำ วันละ 100 – 200 มิลลิกรัม
  2. ฟอร์ทิเจล คอลลาเจน (Fortigel Collagen)  ช่วยสร้างและลดการทำลายคอลลาเจนบริเวณกระดูกอ่อนข้อ รวมทั้งเพิ่มน้ำเลี้ยงข้อ ขนาดรับประทานที่แนะนำ วันละ 10 กรัม

สารอาหารที่แนะนำให้รับประทา เพื่อช่วยป้องกันและรักษาอาการข้อเสื่อม ข้ออักเสบ

  1. สารสกัดจากขมิ้นชัน (Curcumin)  ประโยชน์ ช่วยบรรเทาและลดอาการอักเสบข้อเสื่อม แก้ปวด แทนการใช้ NSAIDs ขนาดรับประทานที่แนะนำ วันละ 100 – 200 มิลลิกรัม
  2. ฟอร์ทิเจล คอลลาเจน (Fortigel Collagen)  ช่วยสร้างและลดการทำลายคอลลาเจนบริเวณกระดูกอ่อนข้อ รวมทั้งเพิ่มน้ำเลี้ยงข้อ ขนาดรับประทานที่แนะนำ วันละ 10 กรัม
  3. กลูโคซามีน (Glucosamine)  ช่วยสร้าง และลดการทำลายกระดูกอ่อนข้อ ขนาดรับประทานที่แนะนำ วันละ 1,500 มิลลิกรัม

จินโซมิน 30's

โสมเกาหลีสกัด ช่วยบำรุงกำลัง ให้รู้สึกสดชื่นกระปรี้กระเปร่า ลดอาการอ่อนเพลีย และเพิ่มสมรรถภาพของร่างกาย เหมาะสำหรับพฤติกรรมการทำงานหนักหักโหม นอนพักผ่อนน้อย

วาเลี่ยน-เอกซ์

สารสกัดจากรากวาเลอเรียน 
สมุนไพรช่วยเพิ่มคุณภาพการนอนหลับ ช่วยให้หลับง่าย หลับสนิท ไม่ตื่นกลางดึก ไม่มีอาการง่วงซึมหลังตื่นนอน นอกจากนี้ยังมีส่วนช่วยคลายวิตกกังวล ปลอดภัย และไม่เสพติด

แนทบี

วิตามินบีปริมาณสูงครบถ้วน 10 ชนิด เพื่อคลายความเครียด บำรุงสมอง และระบบประสาท ช่วยให้สมองปลอดโปร่ง มีสมาธิและอารมณ์ที่ดีขึ้น